วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2553

การยกระดับคะแนน วิชาภาษาอังฤษ ของนักเรียนชั้น ม.3 โดยบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม

การยกระดับคะแนน วิชาภาษาอังฤษ ของนักเรียนชั้น ม.3 โดยบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ โรงเรียนนาทรายวิทยาคม (ปีการศึกษา 2550 - 2553)

โครงการนี้มีจุดที่น่าสนใจอยู่ว่า เราเปลี่ยนเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ และคะแนน ONET ของนักเรียนได้อย่างไร? จึงทำให้คะแนนวิชานี้สูงขึ้นติดต่อกันมาทุกปี

ผู้อ่านท่านใดสนใจ ติดตามบทความได้ ในเวลาอันใกล้นี้
การจัดอันดับความสำคัญของสมรรถนะที่จำเป็นต้องพัฒนา (ครูขั้นพื้นฐาน)

ลำดับที่
สมรรถนะที่จำเป็นต้องพัฒนา
เหตุผลประกอบ
1
ความสามารถในการเขียนเอกสารทางวิชาการ
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 2.16
2
ความสามารถในการวิจัย
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 2.72
3
ความสามารถในการสังเคราะห์
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 2.79
4
ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.08
5
ความสามารถในการใช้และพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อการจัดการเรียนรู้
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.10
6
ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.19
7
ความสามารถในการวัด และประเมินผลการเรียนรู้
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.22
8
ความสามารถในเนื้อหาสาระที่สอน
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.30
9
ความสามารถในการกำกับ ดูแลชั้นเรียน
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.42
10
ความสามารถในการจัดบรรยากาศการเรียนรู้
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.54
11
ความสามารถในการพัฒนาทักษะ ชีวิต สุขภาพกาย และสุขภาพจิต
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.56
12
ความสามารถในการปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.60
13
ความสามารถในการฝังความเป็นไทย
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.65
14
ความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.67
15
ความสามารถในการจัดระบบดูแลและช่วยเหลือผู้เรียน
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.69
16
ความสามารถในการวิเคราะห์
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.80
17
ความสามารถในการจัดทำข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจำชั้นเรียน/ประจำวิชา
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.93
18
ความสามารถในการนำชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมสถานศึกษา
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 2.83
19
ความสามมารถในการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 2.90
20
ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการแสวงหาความรู้
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 2.97
21
ผลการปฏิบัติงานในการการมุ่งผลสัมฤทธิ์
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.09
22
ความสามรถในการวางแผนการปฏิบัติงาน
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.10
23
ความสามารถในการประมวลความรู้ และนำความรู้ไปใช้
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.11
24
ความสามารถในการใช้ภาษาไทย
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.19
25
ความสามารถในการติดตามความเคลื่อนไหวทางวิชาการ และวิชาชีพ
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.20
26
ความสามรถในการสร้างระบบการให้บริการ
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.21
27
ความสามารถในการวิเคราะห์ตนเอง
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.21
28
ความสามารถในการปฏิบัติงาน
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.23
29
ความสามารถในการวางแผนเพื่อการปฏิบัติงานเป็นทีม
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.30
30
ความสามารถในการปฏิบัติงานร่วมกัน
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.32
31
ความสามารถในการให้บริการ
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.33
32
ความรับผิดชอบในวิชาชีพสมรรถนะหลัก
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.37
33
การมีวินัย
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.73
34
การดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.79
35
การประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.80
36
ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ
มีระดับคุณภาพสมรรถนะอยู่ในระดับ 3.84

หมายเหตุ แนวทางการจัดอันดับความสำคัญของสมรรถนะที่จำเป็นต้องพัฒนาให้ความสำคัญกับสมรรถนะหรือความสามารถที่ส่งผลต่อผู้เรียนหรือผู้รับบริการเป็นอันดับแรก ต่อหน่วยงาน ต่อตนเอง และชุมชนเป็นอันดับรองลงมา (แนวทางการจัดอันดับความสำคัญสมรรถนะที่จำเป็นต้องพัฒนา)

Bloom’s Taxonomy

Bloom’s Taxonomy

ในปี 1956, Benjamin Bloom นำกลุ่มนักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มหนึ่งพัฒนาการจัดกลุ่มพฤติกรรมทางสมองที่สำคัญต่อการเรียนรู้ ระหว่าง ปี 1990 มีนักจิตวิทยากลุ่มใหม่ นำโดย Lorin Anderson (ลูกศิษย์เก่าของ Bloom) ปรับปรุงกลุ่มพฤติกรรมขึ้นมาใหม่ และสะท้อนผลงานในศตวรรษที่ 21 เป็นรูปภาพนี้เป็นตัวแทนของคำกริยาใหม่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ Bloom’s Taxonomy ที่เราคุ้นเคยมานาน บันทึกนี้เปลี่ยนจากนามเป็นกริยาเพื่ออธิบายระดับที่แตกต่างกันของกลุ่มพฤติกรรรม


จำ:ผู้เรียนสามารถระลึกหรือจดจำข้อมูลได้หรือไม่
ให้คำจำกัดความ (Define),จำลอง (Duplicate),จัดทำรายการ(List),จดจำ(Memorize),ระลึก(Recall),พูดซ้ำ (Repeat),คัดลอก(Reproduce State)

เข้าใจ:ผู้เรียนสามารถอธิบายความคิดหรือความคิดรวบยอดได้หรือไม่
แยกหมวดหมู่(Classify),บรรยาย(Describe),อภิปราย(Discuss),ชี้แจงเหตุผล(Explain),จำแนก(Indentify),หาแหล่งที่ตั้ง(Locate),จำแนกออก(recognize),รายงาน(Report),คัดสรร(Select),แปลความ(Translate),การถอดความ(Paraphrase)

ประยุกต์ใช้: ผู้เรียนสามารถนำข้อมูลไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ไปจากเดิมได้หรือไม่
เลือก(Choose),แสดง(Demonsrate),ละคร(Dramatize),บริการอาชีพ(Employ),อธิบายพร้อมตัวอย่าง (Illustrate),ปฏิบัติการ(Operate),กำหนดการทำงาน(Schedule),ร่าง(Sketch),แก้ปัญหา(solve),ใช้(Use),เขียน(Write)

วิเคราะห์:ผู้เรียนสามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างส่วนต่างได้หรือไม่
ประเมินค่า(Appraise),เปรียบเทียบ(Compare),แตกต่าง(Contrast),วิจารณ์(Criticize),จำแนก(Differentiate),แบ่งแยก(Discriminate),วินิจฉัย(Distinguish),ตรวจสอบ(Examine),ทดลอง (Experiment)

ประเมินค่า:ผู้เรียนสามารถพิสูจน์หรือตัดสินใจได้หรือไม่
ประเมินค่า(Appraise),อภิปราย(Argue),แก้ต่าง(Defend),พิจารณาตัดสิน(Judge),เลือก(Select),สนับสนุน(Support),ให้คุณค่า(Value),ประเมินค่า(Evaluation)

สร้างสรรค์: นักเรียนสามารถสร้างผลิตพันธ์ หรือความคิดเห็นมุมมองใหม่ๆ ได้หรือไม่
รวบรวม(Assemble),สร้าง(Construct),สร้างสรรค์(Creat),ออกแบบ(Design),พัฒนา(Develop),คิดสูตร-คิดระบบ(Formulate),เขียน(Write)

จาก : http://web.odu.edu/educ/llschult/blooms_taxonomy.html