วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Bloom’s Taxonomy

Bloom’s Taxonomy

ในปี 1956, Benjamin Bloom นำกลุ่มนักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มหนึ่งพัฒนาการจัดกลุ่มพฤติกรรมทางสมองที่สำคัญต่อการเรียนรู้ ระหว่าง ปี 1990 มีนักจิตวิทยากลุ่มใหม่ นำโดย Lorin Anderson (ลูกศิษย์เก่าของ Bloom) ปรับปรุงกลุ่มพฤติกรรมขึ้นมาใหม่ และสะท้อนผลงานในศตวรรษที่ 21 เป็นรูปภาพนี้เป็นตัวแทนของคำกริยาใหม่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ Bloom’s Taxonomy ที่เราคุ้นเคยมานาน บันทึกนี้เปลี่ยนจากนามเป็นกริยาเพื่ออธิบายระดับที่แตกต่างกันของกลุ่มพฤติกรรรม


จำ:ผู้เรียนสามารถระลึกหรือจดจำข้อมูลได้หรือไม่
ให้คำจำกัดความ (Define),จำลอง (Duplicate),จัดทำรายการ(List),จดจำ(Memorize),ระลึก(Recall),พูดซ้ำ (Repeat),คัดลอก(Reproduce State)

เข้าใจ:ผู้เรียนสามารถอธิบายความคิดหรือความคิดรวบยอดได้หรือไม่
แยกหมวดหมู่(Classify),บรรยาย(Describe),อภิปราย(Discuss),ชี้แจงเหตุผล(Explain),จำแนก(Indentify),หาแหล่งที่ตั้ง(Locate),จำแนกออก(recognize),รายงาน(Report),คัดสรร(Select),แปลความ(Translate),การถอดความ(Paraphrase)

ประยุกต์ใช้: ผู้เรียนสามารถนำข้อมูลไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ไปจากเดิมได้หรือไม่
เลือก(Choose),แสดง(Demonsrate),ละคร(Dramatize),บริการอาชีพ(Employ),อธิบายพร้อมตัวอย่าง (Illustrate),ปฏิบัติการ(Operate),กำหนดการทำงาน(Schedule),ร่าง(Sketch),แก้ปัญหา(solve),ใช้(Use),เขียน(Write)

วิเคราะห์:ผู้เรียนสามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างส่วนต่างได้หรือไม่
ประเมินค่า(Appraise),เปรียบเทียบ(Compare),แตกต่าง(Contrast),วิจารณ์(Criticize),จำแนก(Differentiate),แบ่งแยก(Discriminate),วินิจฉัย(Distinguish),ตรวจสอบ(Examine),ทดลอง (Experiment)

ประเมินค่า:ผู้เรียนสามารถพิสูจน์หรือตัดสินใจได้หรือไม่
ประเมินค่า(Appraise),อภิปราย(Argue),แก้ต่าง(Defend),พิจารณาตัดสิน(Judge),เลือก(Select),สนับสนุน(Support),ให้คุณค่า(Value),ประเมินค่า(Evaluation)

สร้างสรรค์: นักเรียนสามารถสร้างผลิตพันธ์ หรือความคิดเห็นมุมมองใหม่ๆ ได้หรือไม่
รวบรวม(Assemble),สร้าง(Construct),สร้างสรรค์(Creat),ออกแบบ(Design),พัฒนา(Develop),คิดสูตร-คิดระบบ(Formulate),เขียน(Write)

จาก : http://web.odu.edu/educ/llschult/blooms_taxonomy.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น